FASCINATION ABOUT โรครากฟันเรื้อรัง

Fascination About โรครากฟันเรื้อรัง

Fascination About โรครากฟันเรื้อรัง

Blog Article

แม้ว่าโรคนี้ส่วนใหญ่อาจไม่ส่งผลร้ายแรงถึงขั้นเสียชีวิต แต่หากปล่อยทิ้งไว้โดยไม่รักษาอาจทำให้เกิดการติดเชื้อ ส่งผลกระทบต่อการเคี้ยวอาหารและการใช้ชีวิตประจำวันได้ ดังนั้น หากพบอาการใดอาการหนึ่งในข้างต้น ควรไปพบทันตแพทย์

จดจำฉัน ลืมรหัสผ่าน? ไม่มีบัญชีผู้ใช้งาน?

การปล่อยฟันที่เป็นโรคทิ้งไว้นาน ๆ ยังทำให้เชื้อโรคออกไปทำลายกระดูกรอบๆ ฟัน ซึ่งทำให้เกิดอาการเคี้ยวเจ็บ หรือ เกิดตุ่มหนองทั้งภายในช่องปาก หรือบริเวณใบหน้า ในกรณีที่กระดูกรองรับฟันถูกทำลายไปเป็นจำนวนมากอาจทำให้ไม่สามารถเก็บรักษาฟันไว้ได้

ฟันมีคราบสีขาว สีเหลือง หรือสีน้ำตาลเกาะ

หนองที่ปลายรากฟัน เกิดจากเนื้อเยื่อในฟันอักเสบหรือติดเชื้อเป็นระยะเวลานานโดยไม่ได้รับการรักษาจนลุกลามจากตัวฟันลงสู่รากฟัน ออกสู่เนื้อเยื่อรอบปลายรากฟันจนเกิดการทำลายเนื้อเยื่อและการละลายของกระดูกรอบรากฟัน เกิดเป็นถุงหนองดันเนื้อเยื่อเหงือกทำให้เหงือกบวม เป็นหนอง และมีอาการปวด ในกรณีรุนแรงอาจมีอาการเหงือกบวม ใบหน้าบวม อ่อนเพลีย และมีไข้ร่วม เมื่อเอกซเรย์จะมองเห็นเงาสีดำที่ปลายรากฟันที่แสดงให้เห็นถึงหนองหรือการอักเสบของเนื้อเยื่อในฟัน ซึ่งทันตแพทย์จะทำการรักษาหนองที่คลองรากฟันจนเหงือกหายเป็นปกติ ไม่มีอาการใด ๆ ก่อนแล้วจึงค่อยทำการอุดคลองรากฟัน และทำการบูรณะบริเวณเหงือกและฟันด้านบนต่อไป

สำหรับบางท่าน ทันตแพทย์อาจทำการใส่ยาลงในโพรงรากฟัน เพื่อช่วยฆ่าเชื้อโรคที่อาจหลงเหลือ และป้องกันการกลับมาติดเชื้อ

โรคไตเรื้อรัง: หลายการศึกษาพบว่า โรคปริทันต์เป็นปัจจัยเสี่ยงเกิดโรคไตเรื้อรัง และโรคไตเรื้อรังก็เป็นปัจจัยเสี่ยงเกิดโรคปริทันต์ รวมถึงเมื่อเป็นโรคไตเรื้อรังและเกิดโรคปริทันต์ขึ้นพบว่า โรคปริทันต์จะเป็นสาเหตุการตายของผู้ป่วยโรคไตฯได้สูงกว่าในผู้ป่วยโรคไตฯที่ไม่มีโรคปริทันต์

การผ่าตัด จะใช้ในกรณีที่ผู้ป่วยให้ความร่วมมือทำความสะอาดฟันอย่างสม่ำเสมอ หรือขูดหินปูนไปแล้วแต่ยังไม่หาย แพทย์จะพิจารณาทำการผ่าตัดเพื่อสร้างเส้นใยเหงือก เอ็นยึด และกระดูกเบ้าฟันที่แข็งแรง

การดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน ถือเป็นเรื่องสำคัญ หากเราทำความสะอาดไม่ดี เกิดกลิ่นปาก เกิดฟันผุ ปวดฟัน ประสบอุบัติเหตุ หรือมีฟันแตก แล้วไม่ได้รับการรักษาที่ถูกต้อง ทำให้เกิดการอักเสบ ติดเชื้อไปถึงโพรงรากฟัน และอาจลุกลามไปถึงซี่ฟันที่อยู่ข้างเคียง ส่งผลให้เกิดการปวดบวม ทรมาน และไม่สามารถรักษาด้วยการอุดฟันได้แล้ว ทำให้ต้องเข้ารับการรักษารากฟัน

การดูแลรักษาโรคเหงือกอักเสบและโรคปริทันต์

โรคปริทันต์มีการพยากรณ์โรคอย่างไร ?

ปกติเนื้อเยื่อในโพรงฟัน สามารถต่อสู้กับเชื้อโรคและต้านทานการอักเสบที่ไม่รุนแรงได้ แต่เมื่อการอักเสบหรือการติดเชื้อรุนแรงขึ้น เช่น กรณีที่ฟันผุลึกมาก ฟันถูกกระแทกแรงๆจากอุบัติเหตุ ฟันที่แตกหักไปจนทะลุเข้าไปในโพรงฟัน เนื้อเยื่อในโพรงฟันก็จะถูกทำลาย และเน่าตายไปในที่สุด

ศูนย์ทันตกรรม บทความโดย : ทพ. วุฒิพงษ์ เหล่าอมต

โรคเหงือกอักเสบ ถือว่าเป็นโรคในช่องปากที่พบได้บ่อยและเริ่มต้นด้วยอาการไม่รุนแรง จะมีอาการเหงือกบวม แดง รู้สึกเจ็บระคายเคือง ซึ่งควรได้รับการดูแลรักษาโดยเร็ว เพราะหากปล่อยทิ้งไว้อาจจะทำเป็นโรคปริทันต์อักเสบรุนแรงหรือสูญเสียฟันแท้ได้ในที่สุด โรครากฟันเรื้อรัง สารบัญ

Report this page